คอลลาเจนคืออะไร?
คอลลาเจนคือหน่วยของโปรตีน ที่รวมตัวกันเป็นสาย ร่างกายเราประกอบไปด้วยคอลลาเจนทั่วทุกอวัยวะ โดยแต่ละส่วนมีลักษณะของคอลลาเจนที่แตกต่างตามชนิด เช่น คอลลาเจนที่ผิว ที่ไขข้อ ก็จะมีความแตกต่างกัน คอลลาเจนถูกทำลายหรือเสื่อมลงตามอายุและและรังสี UV จากแสงแดด หลอดไฟ เราสามารถฟื้นฟูคอลลาเจนในร่างกายได้โดยรับประทานคอลลาเจนเสริมให้กับร่างกาย
คอลลาเจนไตรเปปไทด์คืออะไร?
คอลลาเจนไตรเปปไทด์คือคอลลาเจนที่ประกอบขึ้นจากโปรตีนหน่วยเล็กที่เรียกว่ากรดอะมิโนแอซิด และมีกรดอะมิโนที่สำคัญ ได้แก่ ชนิดไกลซีน 33% อะ ลานีน 11% โปรลีน 12% และไฮดรอกซีโปรลีน 11% เรียงตัวกันด้วยพันธะเปปไทด์ ซึ่งจะมีส่วนช่วยในการฟื้นฟู ซ่อมแซมร่างกาย ทั้งผิวและไขข้อ
รู้จัก Hydroxyproline คืออะไร?
ไฮดรอกซีโพรลีน (Hydroxyproline) เป็นอนุพันธ์ของกรดแอมิโนโพรลีน ซึ่งพบเป็นองค์ประกอบอยู่ในโมเลกุลของคอลลาเจนและเจลาติน โดยปกติร่างกายสามารถสังเคราะห์ ไฮดรอกซีโพรลีน ขึ้นเองได้จาก อะมิโนแอซิดโพรลีน ทำปฏิกริยากับวิตามินซี ซึ่งหากขาดตัวใดตัวหนึ่งก็จะไม่สามารถสังเคราะห์ได้ ไฮดรอกซีโพรลีน เป็นส่วนประกอบที่สำคัญในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่นเหงือก กระดูกอ่อน หลอดเลือด เป็นต้น
ด้วยความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ จึงมีการสังเคราะห์ ไฮดรอกซีโพรลีน ขึ้น เพื่อช่วยให้ร่างกายซ่อมแซมส่วนที่เสียหายได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ถึงอย่างไรการทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ในแต่ละวันก็ยังมีความจำเป็นมาก เพราะการดูแลด้วยสารอาหารตัวใดตัวหนึ่ง ก็จะไม่สามารถครอบคลุมสุขภาพได้ทั้งหมด
- Arora, S., & Tandon, S. (2016). Mitochondrial pathway mediated apoptosis and cell cycle arrest triggered by aqueous extract of wheatgrass in colon cancer colo-205 cells [Abstract].
https://link.springer.com/article/10.1007/s13562-015-0309-7 - Bar-Sela, G., et al. (2015). The medical use of wheatgrass: Review of the gap between basic and clinical applications [PDF].
https://pdfs.semanticscholar.org/46b8/ee98f7856d53c40688fdaa17eef6b9d46207.pdf?_ga=2.125579338.177931791.1571231643-1662965488.1571067929 - Gore, R. D., et al. (2017). Wheatgrass: Green blood can help to fight cancer.
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5534514/ - Im, J.–Y., et al. (2014). Anti-obesity effect of Triticum aestivum sprout extract in high-fat-diet-induced obese mice.
https://www.tandfonline.com/doi/full/10.1080/09168451.2015.1006567 - Is wheatgrass gluten-free? (n.d.).
https://www.beyondceliac.org/gluten-free-diet/is-it-gluten-free/wheatgrass/ - Khan, N., et al. (2015). Immunoprophylactic potential of wheatgrass extract on benzene-induced leukemia: An in vivo study on murine model.
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4527060/ - Love, A. (n.d.). Western wheatgrass.
https://plants.usda.gov/plantguide/pdf/pg_pasm.pdf - Mutha, A. S. et al. (2018). Efficacy and safety of wheat grass in thalassemic children on regular blood transfusion.
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5947926/ - Parit, S. B. (2018). Nutritional quality and antioxidant activity of wheatgrass (Triticum aestivum) unwrap by proteome profiling and DPPH and FRAP assays [Abstract].
https://onlinelibrary.wiley.com/doi/abs/10.1111/1750-3841.14224 - Rajpurohit, L., et al. (2015). Evaluation of the anti-microbial activity of various concentration of wheat grass (Triticum aestivum) extract against gram-positive bacteria: An in vitro study.
http://www.jdrr.org/article.asp?issn=2348-2915;year=2015;volume=2;issue=2;spage=70;epage=72;aulast=Rajpurohit - Shakya, G., et al. (2014). Hypoglycaemic role of wheatgrass and its effect on carbohydrate metabolic enzymes in type II diabetic rats [Abstract].
https://journals.sagepub.com/doi/abs/10.1177/0748233714545202?rfr_dat=cr_pub%3Dpubmed&url_ver=Z39.88-2003&rfr_id=ori%3Arid%3Acrossref.org&journalCode=tiha - Tsai, C.-C,. et al. (2013). The Immunologically Active Oligosaccharides Isolated from Wheatgrass Modulate Monocytes via Toll-like Receptor-2 Signaling.
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3682569/ - Wan, P., et al. (2014). Advances in treatment of ulcerative colitis with herbs: From bench to bedside.
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4202341/ - Welty, F. K., et al. (2016). Targeting inflammation in metabolic syndrome.
https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1931524415002224 - Wheatgrass powder. (2019).
https://fdc.nal.usda.gov/fdc-app.html#/food-details/601871/nutrients
บทความแนะนำ
รู้จักโคเอ็นไซม์คิวเท็น (Q10)
โคเอ็นไซม์คิวเท็น สารอาหารที่ร่างกายสังเคราะห์ขึ้น มีส่วนสำคัญมากกับหัวใจ และหลอดเลือด
Collagen Tripeptide (คอลลาเจน)
คอลลาเจนมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งกับผิวและไขข้อ หากร่างกายสูญเสียคอลลาเจนนอกจากจะทำให้ดูอา
หน้าที่การทำงานของตับ (Liver)
ตับอวัยวะที่ใหญ่ที่สุด ทำหน้าที่หลากหลาย ตั้งแต่สร้างฮอร์โมน กรองสารพิษ...
รู้จักแคลเซียมจากสาหร่ายทะเล
แคลเซียมจากสาหร่ายทะเล เป็นแหล่งแคลเซียมที่ปลอดภัย มาจากพืช 100% ย่อยง่าย ท้องไม่ผูก
บทความที่น่าสนใจ
📗 รู้จักโคเอ็นไซม์คิวเท็น (Q10)
📗 Collagen Tripeptide (คอลลาเจน)
📗 หน้าที่การทำงานของตับ (Liver)
📗 รู้จักแคลเซียมจากสาหร่ายทะเล
📗 แครอทมีเบต้าแคโรทีน ช่วยดูแลดวงตา